การพัฒนาบาร์โค้ดในงานอุตสาหกรรม

labelone

การพัฒนาบาร์โค้ดในงานอุตสาหกรรม

การนำระบบบาร์โค้ดมาใช้ในธุรกิจขายธุรกิจค้าปลีก (Retail Barcode)

การนำบาร์โค้ดมาใช้ในธุรกิจการค้าจะมีคุณประโยชน์หลายประการ เราจะนำเสนอการใช้งานบาร์โค้ดในโรงงานอุตสาหกรรมในแต่ละประเภท จึงจะเน้นถึงระบบ Barcode ในงานอุตสาหกรรมที่นำเจ้ารหัส Barcode เข้ามามีบทบาทในการทำงานทางด้านอุตสาหกรรมไม่ว่าจะทั้ง อุตสาหกรรมยานยนต์ซึ่งขณะนี้ได้ขยายตัวเป็นอย่างมาก อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ อุตสาหกรรมอาหาร ซึ่งเจ้ารหัส Barcode นี้ เข้ามามีบทบาทในด้านอุตสาหกรรมในส่วนไหน ลักษณะหน้าตาของ Barcode เมื่อนำมาใช้ในระบบงานอุตสาหกรรมจะเป็นอย่างไร ติดตามได้ในบทความนี้กัน

การนำเทคโนโลยีบาร์โค้ดเข้ามาช่วยอำนวยความสะดวกในด้านต่างๆ อาทิ ด้านการค้า โดยนำบาร์โค้ดมาติดกับตัวสินค้าผลิตภัณฑ์ต่างๆ เพื่อใช้ในการจัดเก็บชื่อ รหัส และราคาของสินค้า หรือทางด้านการจัดการสต๊อกสินค้า ช่วยในการตรวจสอบจำนวนสินค้าคงเหลือได้อย่างรวดเร็วและแม่นยำ ทั้งนี้การนำบาร์โค้ดมาใช้อย่างแพร่หลายและเป็นที่นิยมกันมาก ทว่า คุณสมบัติที่มีอยู่ของบาร์โค้ดแบบ 1 มิตินั้น ยังไม่รองรับความต้องการของผู้ใช้งานได้มากเท่าที่ควร เช่น การบรรจุข้อมูลได้น้อย และการใช้ฐานข้อมูลในการจัดเก็บ เป็นต้น ดังนั้นจึงทำให้มีการพัฒนาบาร์โค้ด 2 มิติขึ้นมา

การพัฒนาบาร์โค้ดในงานอุตสาหกรรม (Barcode Development in Industrial) มีรายละเอียดดังนี้

อุตสาหกรรมยานยนต์ (Automovice Industry)

 

อุตสาหกรรมยานยนต์ (Automovice Industry) เป็นอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบ พัฒนา ผลิต หาตลาด และจัดจำหน่ายยานยนต์ คุณสามารถสร้างการแสดงทั้งหมดจากฐานผู้ผลิตในระดับปฏิบัติการที่ช่วยให้คุณสามารถพัฒนาประสิทธิภาพการวางแผนเส้นทางที่เหมาะสมที่สุดทรัพยากรและลดสินค้าคงคลังที่ชั้นผลิตยานยนต์

  • 1. ปรับปรุงวิธีการดำเนินการอย่างรวดเร็วสายการผลิตของคุณสามารถที่จะได้รับอะไหล่กับเรา Wireless เติม อะไหล่ Solution
  • 2. ลดการสูญเสียวัสดุและ / หรือสินค้ามือกับเราใน เรื่องที่สนใจติดตามและ Management Solution
  • 3. ติดตามยานพาหนะที่พวกเขาเลื่อน off - line รับรองซ่อมและพื้นที่บรรจุกับเรา Vehicle Tracking และ Management Solution
  • 4. เพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงานลานของคุณได้อย่างรวดเร็วด้วยเรา Yard ติดตามและ Management Solution

อุตสาหกรรมเคมี (Chemical Industry)

 

อุตสาหกรรมทางเคมี เป็นอุตสาหกรรมที่ครอบคลุมไปถึงกิจกรรมอุตสาหกรรมมากมายหลายอย่าง อุตสาหกรรมที่ทำเครื่องเคมีทั้งหลายจะผลิตผลสำเร็จรูป เช่น พลาสติก สี ยารักษาโรค ผงซักฟอก วัตถุระเบิด ไยเทียม สีย้อมผ้า และยาฆ่าแมลง เป็นต้น

คุณสามารถจำแนกสินค้า ด้านเคมี และวัถุอันตราย และเพิ่มมาตรฐานและความปลอดภัยในสายการผลิต โดยนำเอาระบบบาร์โค๊ดเข้ามาช่วยเหลือ สิ่งที่คุณจะได้รับจากการนำเอาระบบบาร์โค้ดมาใช้

  • 1. ปรับปรุงวิธีการดำเนินการอย่างรวดเร็วในสายการผลิต
  • 2. เลดการสูญเสียวัสดุ
  • 3. สามารถตรวจสอบย้อนกลับได้
  • 4. เพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงาน รวมถึงความปลอดภัยยิ่งขึ้น

ด้านการศึกษา (Education)

 

ด้านการศึกษา สามารถนำบาร์ดค้ดมาใช้กับงานหลายๆด้าน เช่น ระบบห้องสมุด อุปกรณ์คุรุัภัณฑ์ รหัสประจำตัวฯ ตัวอย่างการนำบาร์โค้ดมาใช้ในด้านการศึกษา สามารถนำเอาระบบบาร์โค๊ด มาช่วยเหลือ ในเรื่องห้องสมุด แนะลดเวลาในการสืบค้นต่างๆ และการนำเอาระบบในช่วยในการยืม คืนได้อีกด้วยสิ่งที่จะได้รับจากการนำเอาระบบบาร์โค้ดมาใช้

  • 1. ปรับปรุงวิธีการดำเนินการอย่างรวดเร็วในสายการค้นหาข้อมูล
  • 2. เพิ่มความรวดเร็วและการค้นหาข้อมูล

อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ (Electronics Industry)

 

อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ เป็นอุตสาหกรรมที่ผลิตชิ้นส่วน และส่วนประกอบของสินค้าอิเล็กทรอนิกส์ เช่น คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์มือถือ เครื่องรับวิทยุ และโทรทัศน์ เป็นต้น

คุณสามารถนำเอาระบบบาร์โค๊ด มาช่วยเหลือ ในอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ (Electronics Industry) เช่น จำแแนกสินค้า รหัสสินค้า สามารถตรวจสอบย้อนกลับได้ เพื่อการทำงานให้รวดเร็ว แม่นยำและ ทันต่อการแข่งขันของตลาด จึงได้นำเอาระบบบาร์โค้ด มาประยุกต์ใช้ในการทำงาน ทุกชิ้นส่วน ไม่ว่าเล็กหรือใหญ่ สามารถนำไปพัฒนาต่อไปได้

อุตสาหกรรมอาหาร (Food Industry)

 

อุตสาหกรรมอาหาร เป็นอุตสาหกรรมหนึ่งที่มีกระบวนการผลิตหลากหลายขั้นตอนและผลผลิตของแต่ละขั้นตอนนั้นยังสามารถนำไปใช้งานต่อได้ในหลากหลายรูปแบบ เช่น สินค้าหนึ่ง เมื่อผ่านกระบวนการขั้นต้นแล้วก็จะสามารถนำไปบริโภคโดยตรงทันที หรือนำไปผ่านกระบวนการปรุง การแปรรูปอย่างง่าย ไปจนถึงการแปรรูปขั้นสูงขึ้นไปได้เช่นเดียวกัน

ในกระบวนการผลิต ทุกวันนี้สิ่งที่ต้องคำนึง และปฎิบัติคือ การทำงานให้รวดเร็ว แม่นยำและทันต่อการแข่งขันของตลาด ตรวจสอบได้ จึงได้นำเอาระบบบาร์โค้ด มาประยุกต์ใช้ในการทำงาน ทุกชิ้นส่วน ไม่ว่าเล็กหรือใหญ่ สามารถนำไปพัฒนาต่อไปได้ คุณสามารถนำเอาระบบบาร์โค๊ด มาช่วยเหลือ ในกระบวนการต่างๆได้ เช่น

  • 1. ปรับปรุงวิธีการดำเนินการอย่างรวดเร็วในสายการผลิต
  • 2. ลดการสูญเสียวัสดุ
  • 3. สามารถตรวจสอบย้อนกลับได้
  • 4. เพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงาน รวมถึงความปลอดภัยยิ่งขึ้น

อุตสาหกรรมเสื้อผ้า (Garment Industry)

 

อุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม เป็นอุตสาหกรรมที่มีความสำคัญต่อระบบเศรษฐกิจไทยเป็นอย่างมาก นอกจากนี้ยังเป็นอุตสาหกรรมที่มีการจ้างงานกว่า 1 ล้านคน ซึ่งสูงสุดในภาคอุตสาหกรรม อีกทั้งยังสามารถทำรายได้เงินตราต่างประเทศได้ปีละกว่าแสนล้านบาท

ไทยเป็นผู้ผลิต เสื้อผ้าส่งออก ติดอันดับต้นๆ ของโลก ด้วยคุณภาพงานที่ดี ราคาเหมาะสม รูปแบบงานและดีไซด์ ที่ทันสมัย เหตุนี้ จึงเป็นที่นิยมที่จะนำเอาระบบบาร์โค๊ด มาเพื่อรองรับการขยายงาน ที่ทันต่อความต้องการลูกค้า ที่ขยายตัวมากขึ้น และเป็นสิ่งอำนวยความสะดวกในการควบคุมสินค้า คงคลัง ให้เหมาะสม ไม่มาก ไม่น้อยเกินไป

  • 1. ปรับปรุงวิธีการดำเนินการอย่างรวดเร็วในสายการผลิต
  • 2. ลดการสูญเสียวัสดุ
  • 3. สามารถตรวจสอบย้อนกลับได้
  • 4. เพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงาน รวมถึงความปลอดภัยยิ่งขึ้น

ด้านการแพทย์ (Healthcare Providers)

 

งานบริหารด้านการแพทย์ในโรงพยาบาลปัจจุบันเป็นการนำเทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับการบริหารจัดการ (Management Information System) มาประยุกต์เข้ากับกฎ ระเบียบ ข้อบังคับและมาตรฐานของระบบรับรองคุณภาพโรงพยาบาลแบบต่างๆ ตามที่โรงพยาบาลนั้นต้องการ ซึ่งนำมาใช้ช่วยในการบริหารจัดการงานทั่วไปของโรงพยาบาล เช่น งานเวชระเบียนผู้ป่วย งานบริหารจัดการเครื่องมือแพทย์ เป็นต้น การนำระบบงานบาร์โค๊ดมาใช้ในด้านการแพทย์เพื่องานบริหาร เช่น ผู้ป่วยต้องการความปลอดภัย หมายเลขประจำตัวประชาชน ต้องถูกต้อง เพราะยาและอุปกรณ์ทางการแพทย์ เช่น ยา น้ำเกลือ ที่จะใช้กับคนไข้ต้องถูกต้องแม่นยำ เพื่อลดข้อผิดพลาดในการทำงาน และจะทำสิ่งต่างๆ ไปใช้กับผู้ป่วย

ธุรกิจขายธุรกิจค้าปลีก (Retail Barcode)

 

ธุรกิจขายธุรกิจค้าปลีก (Retail) ธุรกิจขายธุรกิจค้าปลีก คือ การขายสินค้า และบริการให้แก่ผู้บริโภคคนสุดท้ายเพื่อซื้อไปอุปโภคบริโภคของตนเอง การค้าปลีกได้พัฒนาเป็นประเภทต่าง ๆ เพื่อให้สอดคล้องและตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคในการดำเนินชีวิตประจัน โดยจำแนกตามประเภทของร้านค้า และสินค้าได้ ดังนี้

  • 1. ธุรกิจค้าปลีกประเภทหาบเร่
  • 2. ธุรกิจค้าปลีกประเภทร้านค้าเฉพาะอย่าง (Specialty store)
  • 3. ธุรกิจค้าปลีกประเภทร้านสะดวกซื้อ (Convenience store)
  • 4. ธุรกิจค้าปลีกประเภทร้านสรรพาหาร (Supermarket) เช่น ขายสินค้าประเภทอาหารสด และเครื่องบริโภค
  • 5. ธุรกิจค้าปลีกประเภทซูเปอร์เซ็นเตอร์ (Supercenter) หรือไฮเปอร์มาร์ท
  • 6. ธุรกิจค้าปลีกประเภทห้างสรรพสินค้า (Department store)

ธุรกิจขนส่ง (Transportation)

 

ธุรกิจขนส่งสินค้ามีบทบาทอย่างสูงต่อระบบเศรษฐกิจในทุกภาคส่วน เพราะเป็นส่วนที่ช่วยในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจให้เดินหน้าอย่างต่อเนื่อง การขนส่งสินค้ามี 3 ทาง คือ ทางบก น้ำ อากาศ ซึ่งในที่นี้จะเน้นการวิเคราะห์เฉพาะการขนส่งทางบก เนื่องจากเป็นอุตสาหกรรมที่ผู้ประกอบการ SMEs สามารถเข้าสู่อุตสาหกรรมได้ ในขณะที่การขนส่งทางน้ำและทางอากาศจำเป็นต้องใช้เงินทุนค่อนข้างสูง การนำเอาระบบบาร์โค๊ด และอุปกรณ์บันทึกข้อมูลของลูกค้า เส้นทาง รวมถึง การนำมาพัฒนาระบบจัดส่ง เพื่อเพิ่มความรวดเร็วและสะดวกสะบายตรวจสอบได้ เลยเป็นที่ยอมรับกันอย่างแพร่หลาย ในงานขนส่งสินค้า และบริการ

ระบบคลังสินค้า (Warehouse Operations)

 

การนำบาร์โค้ดมาใช้ในระบบคลังสินค้า (Warehouse Operations) สินค้าคงคลังมีวัตถุประสงค์ในการสร้างความสมดุลในซัพพลายเชน เพื่อให้ระดับสินค้าคงคลังต่ำสุด โดยไม่กระทบต่อระดับการให้บริการ โดยปัจจัยนำเข้าของกระบวนการผลิตที่มีความสำคัญอย่างยิ่งคือ วัตถุดิบ ชิ้นส่วนและวัสดุต่างๆ ที่เรียกรวมกันว่าสินค้าคงคลัง ซึ่งเป็นองค์ประกอบที่ใหญ่ที่สุดของต้นทุนการผลิตผลิตภัณฑ์หลายชนิดนอกจากนั้นการที่สินค้าคงคลังที่เพียงพอยังเป็นการตอบสนองความพึงพอใจของลูกค้าได้ทันเวลา

ตลาดวันนี้ความต้องการการจัดการซัพพลายเชนได้อย่างรวดเร็วและถูกต้อง โดยเฉพาะคลังสินค้าและการดำเนินงานศูนย์กระจายต้องการที่หลากหลายของระบบจัดเก็บข้อมูลและเครือข่ายไร้สายที่ออกแบบ

ติดต่อสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมศูนย์บริการ : (02) 515-1244-50

contact

Recently Viewed

Sorry, there are no products.
Recently Viewed Products
Back To Top

Notify Me

Size Chart

ติดต่อสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม

Compare Color

Click On Color / Pattern To Compare, Click And Drag Images To Reorder
Login
Product Quotation
0 items
Menu